วิธีการใช้งาน Tab คำสั่งต่าง ๆ บนหน้าจอ Google
ได้แก่ Tab เว็บ, Tab รูปภาพ, Tab แผนที่, Tab แปลภาษา, Tab กูรู, Tab บล็อก, Tab Gmail เป็นต้น
โดยแต่ละ Tab มีการทำงานที่แตกต่างกัน เช่น Tab แผนที่ เมื่อคลิกเข้าไปแล้วสามารถใช้หาที่ตั้งของสถานที่ต่าง ๆ ได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว หรือ Tab แปลภาษา ก็สามารถแปลภาษาต่าง ๆ ได้อย่างง่ายดาย หรือ Tab กูรู แค่พิมพ์หัวข้อที่เราสนใจเท่านั้นก็สามารถได้คำตอบจากผู้เชี่ยวชาญในทันที และ Tab บล็อก ก็สามารถสร้างบล็อกของตัวเองขึ้นมาได้อย่างง่ายได้
ทำให้เห็นได้ว่า Google เป็น Search Engine ที่มีประโยชน์ในชีวิตประจำวันเป็นอย่างมากจริง ๆ
วันพุธที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2552
การจัดการความรู้ แนวคิดและกลยุทธ์ในการสร้างองค์การ
ความรู้ คืออะไร (Knowledge Capital)
1. ความสามารถในการทำให้สารสนเทศและข้อมูลเป็นการกระทำที่มีประสิทธิภาพ
2. ส่วนผสมของกรอบประสบการณ์ คุณค่า สารสนเทศ และความเชี่ยวชาญ ซึ่งจะเป็นกรอบที่ทำให้เกิดประสบการณ์และความรู้ใหม่เข้าด้วยกัน
v ข้อมูล (Data)
ข้อมูลดิบที่ยังไม่ผ่านระบบ
v Information เอา Data มาจัดทำ
v Knowledge เอามาสร้างเป็นองค์ความรู้
v ความเฉลี่ยวฉลาด (Wisdom)
การนำความรู้ต่าง ๆ มาบูรณาการเข้าด้วยกันเพื่อใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อการทำงานในสาขาวิชาต่าง ๆ
v เชาว์ปัญญา (Intelligence)
ผลจากการปรับแต่งและจดจำ ความเฉลี่ยวฉลาดต่าง ๆ ซึ่งก่อให้เกิดความคิดที่ฉับไว
วิถีสู่การเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้
มีวิถีเดียว คือ วิถีแห่งการปฏิบัติ
KM - ไม่นำ ไม่รู้
- เรียนลัดและต่อยอด
เพียงจ้องมองบันไดยังไม่พอ แต่เราต้องก้าวขึ้นบันได้ด้วย
หัวปลา Knowledge Vision
ต้องเชื่อมต่อกับภาพใหญ่
ต้องได้ Output, Outcome
ต้องเข้าใจบทบาท “คุณเอื้อ”
ต้องใช้ “ภาวะผู้นำ” ในทุกระดับ
หางปลา Knowledge Asset
ได้มาจาก”คุณกิจ” ตัวจริง
มีทั้งส่วนที่เป็น
Explicit Knowledge และ
Tacit Knowledge
กระบวนการจัดการความรู้ (Knowledge Process)
1. กำหนดสิ่งที่ต้องเรียนรู้ (Knowledge Identification)
2. การแสวงหาความรู้ (Knowledge Acquisition)
3. การจัดเก็บและค้นคืนความรู้ (Knowledge Storage & Retrieval)
4. การสร้างความรู้ (Knowledge Creation)
5. การประมวลและการกลั่นกรองความรู้ (Knowledge Codification & Refinement)
อุปสรรคการเรียนรู้
ไม่พูด ไม่คุย
ไม่เปิด ไม่รับ
ไม่ปรับ ไม่เปลี่ยน
ไม่เพียร ไม่ทำ
1. ความสามารถในการทำให้สารสนเทศและข้อมูลเป็นการกระทำที่มีประสิทธิภาพ
2. ส่วนผสมของกรอบประสบการณ์ คุณค่า สารสนเทศ และความเชี่ยวชาญ ซึ่งจะเป็นกรอบที่ทำให้เกิดประสบการณ์และความรู้ใหม่เข้าด้วยกัน
v ข้อมูล (Data)
ข้อมูลดิบที่ยังไม่ผ่านระบบ
v Information เอา Data มาจัดทำ
v Knowledge เอามาสร้างเป็นองค์ความรู้
v ความเฉลี่ยวฉลาด (Wisdom)
การนำความรู้ต่าง ๆ มาบูรณาการเข้าด้วยกันเพื่อใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อการทำงานในสาขาวิชาต่าง ๆ
v เชาว์ปัญญา (Intelligence)
ผลจากการปรับแต่งและจดจำ ความเฉลี่ยวฉลาดต่าง ๆ ซึ่งก่อให้เกิดความคิดที่ฉับไว
วิถีสู่การเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้
มีวิถีเดียว คือ วิถีแห่งการปฏิบัติ
KM - ไม่นำ ไม่รู้
- เรียนลัดและต่อยอด
เพียงจ้องมองบันไดยังไม่พอ แต่เราต้องก้าวขึ้นบันได้ด้วย
หัวปลา Knowledge Vision
ต้องเชื่อมต่อกับภาพใหญ่
ต้องได้ Output, Outcome
ต้องเข้าใจบทบาท “คุณเอื้อ”
ต้องใช้ “ภาวะผู้นำ” ในทุกระดับ
หางปลา Knowledge Asset
ได้มาจาก”คุณกิจ” ตัวจริง
มีทั้งส่วนที่เป็น
Explicit Knowledge และ
Tacit Knowledge
กระบวนการจัดการความรู้ (Knowledge Process)
1. กำหนดสิ่งที่ต้องเรียนรู้ (Knowledge Identification)
2. การแสวงหาความรู้ (Knowledge Acquisition)
3. การจัดเก็บและค้นคืนความรู้ (Knowledge Storage & Retrieval)
4. การสร้างความรู้ (Knowledge Creation)
5. การประมวลและการกลั่นกรองความรู้ (Knowledge Codification & Refinement)
อุปสรรคการเรียนรู้
ไม่พูด ไม่คุย
ไม่เปิด ไม่รับ
ไม่ปรับ ไม่เปลี่ยน
ไม่เพียร ไม่ทำ
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)